Video Conference   

  
การประชุมทางไกลผ่านจอภาพ
             ด้วยคู่สาย ISDN

ลักษณะ

รายละเอียด


  1. โครงข่าย   
          





  2. ความเชื่อถือ 
      (Reliability)       





  3. ความเร็ว             
      ในการรับ-ส่ง        


  4. รูปแบบของการ     
      บริการหลัก และ
      โครงสร้างช่อง
      สัญญาณ


























 




  5. คู่สาย




  6. อุปกรณ์เครื่อง
      ปลายทาง















  7. บริการเสริม
     ( Supplementary
       Service )








































  8. การเดินสายภายใน
      สำนักงานของผู้ใช้
     บริการ





  9. การติดต่อกับผู้ใช้
     บริการรายอื่น






  
โครงข่าย ISDN เป็นโครงข่ายโทรคมนาคมความเร็วสูง
 ในระบบดิจิตอลที่สามารถส่งทั้งสัญญาณ ภาพ และเสียง
 และข้อมูลต่างๆ ร่วมไปในสายเดียวกัน
และสามารถเชื่อม
 ต่อกับ โครงข่ายส่วนบุคคลอื่น ( Private Network ) เพื่อติดต่อ
 กับผู้ใช้บริการรายอื่นได้ทั่วประเทศ

   เป็นแบบดิจิตอลทั้งหมด จนถึงปลายทาง คือสำนักงาน
 ของผู้ใช้บริการ ไม่ต้องมีการแปลงสัญญาณ ( Conversion ) ทำ
 ให้ความเพี้ยนของสัญญาณจะมีน้อยมาก ตลอดจนสิ่งรบกวน
 ( Noise )  ก็จะลดน้อยลงด้วย  ทำให้ข้อมูลข่าวสารที่รับส่งใน
 โครงข่าย ISDN มีความถูกต้อง ไว้วางใจได้สูงกว่าระบบเดิม 

   ความเร็วในการรับส่ง 64 Kbps ต่อวงจร ทำให้สามารถ
 รับส่ง สัญญาณเสียง ข้อมูล ภาพ ตัวอักษร ในปริมาณมาก และ
 รวดเร็วขึ้นกว่าเดิม

   บริการ ISDN มีบริการหลัก 2 รูปแบบ คือ
 1. แบบเบสิก ( Basic Access Interface 2B+d หรือ
     BAI )
เป็นรูปแบบการให้บริการแก่ผู้เช่าด้วยคู่สาย
      โทรศัพท์ธรรมดา จากชุมสาย ISDN ถึงอุปกรณ์ปลายทาง
      แต่คู่สายเพียง 1 คู่สายนี้ จะแตกต่างจากบริการของโทร
      ศัพท์ธรรมดา คือ โครงสร้างช่องสัญญาณของบริการชนิด
      นี้ ประกอบด้วย ช่องสัญญาณ B 2 ช่องสัญญาณ มีอัตราเร็ว
      ในการรับส่งช่องละ 64 Kbps และช่องสัญญาณ D 1 ช่อง
      สัญญาณ  มีอัตราเร็วในการรับส่ง 16  Kbps (  โดยช่อง
      สัญญาณ B มีหน้าที่รับส่ง ข้อมูล ข่าวสาร และช่องสัญญาณ
      D นั้น โดยปกติ จะทำหน้าที่ส่งสัญญาณการควบคุมการต่อ
      ( connect ) และการยกเลิก ( release ) และช่องว่างที่ไม่มี
      สัญญาณเหล่านี้ทำงานอยู่ ผู้เช่าสามารถใช้ส่งข้อมูลถึงกัน
      ได้ในรูปของ Packet ) รวมความเร็วในการรับส่งสัญญาณ
      ภายในโครงสร้างแบบ BAI ได้ 144 Kbps ในการรับส่ง
      สัญญาณสามารถทำได้พร้อมกัน ทั้ง 3 ช่อง เป็นอิสระต่อกัน
      ทำให้เกิดความเร็ว และสะดวกยิ่งขึ้น คู่สายชนิด BAI 1 คู่
      สาย สามารถนำอุปกรณ์ปลายทางแบบต่างๆ มาติดตั้งใช้งาน
      ได้มากกว่า  1  เครื่อง  ( สูงสุดติดตั้งได้ 8 เครื่อง )  และ
      สามารถใช้งานได้พร้อมกัน 2 เครื่อง ในช่วงเวลาเดียวกัน

 2. แบบไพรมารี่ ( Primary Rate Access Interface
      30 B + D หรือ PRI )
เป็นรูปแบบการให้บริการด้วย
      การเชื่อมต่อโครงข่าย ISDN ด้วยเคเบิลใยแก้วนำแสง
      หรือระบบอุปกรณ์เทคนิคอื่นใดที่ทำให้โครงสร้างของช่อง
      สัญญาณของบริการชนิดนี้ ประกอบด้วยช่องสัญญาณ B 
      30 ช่องสัญญาณ มีอัตราเร็วในการรับ-ส่ง ช่องละ 64 Kbps
      และช่องสัญญาณ D 1 ช่องสัญญาณ มีความเร็วในการรับ - 
      ส่ง สัญญาณภายในโครงสร้าง เป็น 2048 Kbps ในระยะ
      แรกการให้บริการแบบนี้จะเชื่อมต่อกับตู้สาขาอัตโนมัติ
      ( IS PABX ) จะสามารถ รับ - ส่ง สัญญาณเสียง ข้อมูล ภาพ 
      ตัวอักษร ได้อย่างครบถ้วน ตามระบบ ISDN 
      
      คู่สาย ISDN เป็นคู่สายเอนกประสงค์ สำหรับเครื่อง
 อุปกรณ์ปลายทางชนิดต่างๆ
ดังนั้น เครื่องโทรสาร เครื่อง
 โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์สื่อสารอิเล็คทรอนิคส์อื่นใด
 สามารถต่อเข้ากับคู่สายชนิดนี้เพียงคู่สายเดียวได้

     ผู้ใช้บริการ ISDN สามารถใช้ทั้งอุปกรณ์เครื่องปลายทางที่มี
 อยู่เดิมโดยต่อผ่าน Terminal Adapter ( T/A )  และอุปกรณ์
 เครื่องปลายทาง ในระบบ ISDN สามารถต่อเข้ากับโครงข่าย
 ISDN ได้ทันที อุปกรณ์เครื่องปลายทางเหล่านี้ ได้แก่
    -  เครื่องโทรศัพท์ ISDN ( Digital Telephone )
    -  เครื่องโทรศัพท์ทั่วไป
    -  เครื่องโทรสารแบบดิจิตอล ( G.4 )
   -  เครื่องโทรสารทั่วไป
    -  เครื่องรับส่งข้อมูลปลายทาง ( Data Terminal with TA or
       ISDN card )
    -  ตู้สาขาอัตโนมัติระบบ ISDN
    -  อุปกรณ์ปลายทางรูปแบบอื่นที่ทันสมัย ซึ่งใช้กับโครงข่าย
       ISDN ได้ เช่น โทรศัพท์ภาพ ISDN อุปกรณ์ประชุมทาง
       ไกลผ่านจอภาพ ฯลฯ

      
    ในระบบ ISDN ได้จัดบริการเสริม สำหรับผู้ใช้บริการ ISDN
 ด้วยกัน ดังนี้คือ

   -  บริการแสดงเลขหมายที่โทรเข้า ( Calling Line Iden-
      tification Presentation หรือใช้ชื่อย่อว่า CLIP ) เป็นบริการ
     เสริมที่แสดงหมายเลขของผู้เรียกมาบนเครื่องของผู้รับสาย 
      ให้ผู้รับสายทราบ ( เป็นบริการเสริมที่ให้แก่ผู้รับสาย )

   -  บริการระงับแสดงหมายเลขที่เรียกเข้า ( Calling Line 
      Identification Restriction  หรือใช้ชื่อย่อว่า CLIR )  เป็น
      บริการเสริม ที่ไม่แสดงหมายเลขของผู้เรียกมาบนเครื่อง
      ของผู้รับสาย ให้ผู้รับสายทราบ ( เป็นบริการเสริมที่ให้แก่ผู้
      เรียก )

  -  บริการเรียกเข้าตู้สาขาอัตโนมัติระบบ ISDN โดยตรง  
     ( Direct Dialling In หรือใช้ชื่อย่อว่า DDI ) เป็นบริการเสริม
     ซึ่งผู้ใช้บริการ ISDN สามารถกำหนดเลขหมายให้อุปกรณ์
     ปลายทางแต่ละเครื่องให้มีเลขหมายต่างกันได้โดยกำหนด
     Sub-address เพิ่ม

  -  บริการขอขยายเลขหมายเพิ่ม ( Multiple Subscriber Num
     ber หรือใช้ชื่อย่อว่า MSN ) ในกรณีที่ผู้ใช้บริการติดตั้งโทร
     ศัพท์มากกว่า 1 เครื่อง สามารถขอใช้บริการเลขหมายเพิ่ม
     โดยกำหนดเลขหมายให้เครื่องโทรศัพท์แต่ละเครื่อง มีเลข
     หมายที่ต่างกันได้ ซึ่งเป็นเลขหมาย 7 ตัว เช่น เครื่องที่ 1
     เลขหมาย 123-0001, เครื่องที่ 2 เลขหมาย 123-0002

  -  บริการส่งข้อความระหว่างผู้ใช้ ( User-to-User Signalling
     หรือใช้ชื่อย่อว่า UUS ) เป็นบริการเสริมที่ผู้ใช้บริการ ISDN
     สามารถส่งข้อความไปบันทึกบนเครื่องปลายทาง ถ้าไม่มีผู้รับ
     ที่เครื่องปลายทางที่ถูกเรียก

  -  บริการ ถอด - ย้าย อุปกรณ์เครื่องปลายทาง ( Terminal
     Portability  หรือใช้ชื่อย่อว่า TP )  เป็นบริการเสริมที่ผู้ใช้
     บริการ ISDN สามารถ ถอด-ย้าย อุปกรณ์เครื่องปลายทาง
     ขณะที่กำลังมีการติดต่อกันอยู่โดยที่การติดต่อระหว่างต้นทาง
     กับปลายทางไม่ถูกตัดขาด หลังจาก ถอด-ย้าย ไปต่อกับปลั๊ก
     ISDN ตามตำแหน่งที่ต้องการแล้ว การติดต่อระหว่างต้นทาง
     กับปลายทาง ยังสามารถดำเนินการต่อไปได้
      
      การเดินสายภายในสำนักงานของผู้ใช้บริการ จะเป็น
 ระเบียบเรียบร้อยยิ่งขึ้น
ไม่มีปัญหาว่า สายโทรศัพท์ สายโทร
 สาร สายคอมพิวเตอร์ หรือสายเชื่อมโยงกับอุปกรณ์อื่นๆ จะพัน
 กันระเกะระกะ และบางครั้งแยกไม่ออกว่าเป็นสายจากเครื่อง
 ใด โดยคู่สาย ISDN จะลดสายอุปกรณ์ต่างๆ เหลือเพียง
 เส้นเดียว
ไม่กระทบต่อการใช้งาน และสะดวกในการบำรุง
 รักษาในภายหลัง

    ผู้ให้บริการ ISDN สามารถติดต่อผู้ใช้บริการอื่นในโครงข่าย
 โทรศัพท์ทั่วประเทศ ตามระบบเดิม และสามารถติดต่อกับผู้ใช้
 บริการ ISDN ด้วยกันได้



         -----------------------------------------------------------------------------








       Tele - medicine    
 
    การรักษาทางไกลผ่านจอภาพ
             ด้วยคู่สาย ISDN











    การใช้หุ่นยนต์ผ่าตัดคนไข้ผ่าน
 จอภาพ ( Video Conference ) ข้าม
 ทวีป เป็นครั้งแรกของโลก ด้วยคู่
 สาย ISDN 3  คู่สาย ที่โรงพยาบาล
 กรุงเทพ ( 27 ก.พ. 40 )
 




























            Video phone      
 
         การใช้โทรศัพท์ภาพ
 ( Video phone ) ผ่านคู่สาย ISDN
                  




ISDN
ย่อการติดต่อสื่อสารทั้งโลก
ให้อยู่ในมือคุณ



 ขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
 E-mail : isdnmail@tot.or.th
             www.tot.or.th
 
                  หรือติดต่อได้ที่  
 E-mail : chatchai@ckmit.com


                                                                                    


                                      More information, please contact   E-mail : chatchai@ckmit.com